ศัพท์ไทย - บาลี หมวด ภ (ภพ-ไภ-)
. ปุงลิงค์ , อิตถีลิงค์ ., นปุงสกลิงค์ / น. นาม / ก.กิริยา / กกิ. กิริยากิตก์ / คุ. คุณนาม / สำ. สำนวน / นิ. นิบาต /กวิ. กิริยาวิเสส
---------------
ภพ น. ภว. ภวน.
ภพน้อยภพใหญ่ น. ภวาภว., หุราหุร.,
ภพนี้ ดู โลกนี้
ภพสุดท้าย น. ภวจริมกา,
ภพหน้า ดู โลกหน้า
ภพใหม่ น. ปุนพฺภว.
ภมร น. ภมร. (ดู ผึ้ง)
ภยันตราย น. อนฺตราย, อุปฆาต. อาปทา,
ภรรยา น. ภริยา, สา, ทาร. ชายา, ชายิกา, กลตฺต., ฆรณี, ปิยา, ปชาปติ, ทุติยา, ทุติยิกา, ปาทปริจาริกา, ปตินี, ปาณิคหิตา, สหธมฺมินี, วธุกา, วธู, เขตฺต., อิตฺถี, ทมยนฺตี,
ภรรยาเก่า น. ปุราณทุติยิกา,
ภรรยาชั่วคราว น. มุหุตฺติกา,
ภรรยาแต่ง น. โอทปตฺตกินี,
ภรรยาน้อย น. อนุภริยา, อมุขฺยทาร. สปตี, อุปภริยา,
ภรรยาผู้ซื่อสัตย์ น. ปติพฺพตา, สตี,
ภรรยาหลวง น. เอกภริยา,
ภราดรภาพ น. ภาตุสทิสตา, สหธมฺมิกตา, พนฺธวสทิสตา,
ภริยา ดู ภรรยา
ภวังค์ น. ภวงฺค.,
ภักดี น. ภตฺติ, สทฺธา, สทฺธาลุตา, ค. ภตฺติก ภตฺติมนฺตุ ภตฺติปร สทฺธานุคต สทฺธาลุ มามก ก. นิเสวติ
ภักดีต่อพระพุทธ ค. พุทฺธมามก
ภักดีต่อพระธรรม ค. ธมฺมมามก
ภักดีต่อพระสงฆ์ ค. สงฺฆมามก
ภักษา น. ภกฺขา, ภิกฺขา,
ภักษาหาร น. ภิกฺขาหาร.
ภัณฑ์ น. ภณฺฑ.,
ภัณฑไทย น. ภณฺฑเทยฺย.,
ภัณฑารักษ์ น. ภณฺฑรกฺข. ภณฺฑารกฺขก.
ภัณฑูกรรม น. ภณฺฑูกมฺม.,
ภัต น. ภตฺต.,
ภัตตาคาร น. ภตฺตาคาร., ลหุโภชนาคาร.,
ภัทร ค. ภทฺท ภัทรบิฐ น. ภทฺทปีฐ.,
ภัพบุคคล น. ภพฺพปุคฺคล.
ภัย น. ภย.,
ภัยเฉพาะหน้ น. ปฏิภย.,
ภัยพิบัติ น. ภย., วิปตฺติ, อาปทา, วฺยาสน., อุปทฺทว.
ภัสดา น. ภตฺตุ. (ดู สามี)
ภาค น. ภาค. เทส. วิสย. ภาคกลาง น. มชฺฌิมเทส. ภ คตะวันตก น. ปจฺฉิมเทส. ภ คตะวันออก น. ปุรตฺถิมเทส.
ภาคใต้ น. ทกฺขิณเทส. ภ คพื้น น. ภูมิภาค. ตลภาค.
ภาคทฤษฎี น. วิชฺชาภาค.
ภาคทัณฑ์ น. อปลายนปฏิญฺญา, ภาคปฏิบัติ น. จรณภาค.
ภาคผนวก น. อวสิฏฺฐสงฺคห. อุปคนฺถ. อุปเลขน.,
ภาคภูมิ ค. มิหิต มเหสกฺข โสภน สุรูป
ภาคภูมิใจ น. เกฬายน., ก. เกฬายติ ปิเหติ ตุสฺสติ
ภาคเรียน น. อชฺฌายนกาลปริจฺเฉท.
ภาคแสดง น. อาขฺยาตปท.,
ภาคหน้า น. สมฺปราย. อภิสมฺปราย. ปรโลก. ค. สมฺปรายิก
ภาคิไนย น. ภาคิเนยฺย.
ภาชนะ น. ภาชน., อมตฺต., ปตฺต. กํส. ปาติ, อาธาร.
ภาชนะเคลือบ น. พาหิรมฏฺฐ.,
ภาชนะดิน น. กุลาลภาชน., อามตฺติกา, มตฺติกาภาชน.,
ภาชนะดินเผา น. อามตฺติก.,
ภาชนะทรงกระบอก น. ทีฆวฏฺฏุลภาชน.,
ภาชนะหุงต้ม น. ปิฐร. ปจนภาชน.,
ภาณวาร (หมวดข้อธรรม) น. ภาณวาร.
ภาณุมาศ น. ภานุมนฺตุ. ภานุ. ภาณุ,
ภาพ ๑ น. รูปก., จิตฺตกมฺม.,
ภาพเขียน น. จิตฺต., จิตฺตกมฺม., จิตฺตวตฺถุ.,
ภาพเงา น. ฉายาจิตฺต.,
ภาพถ่าย น. ปฏิพิมฺพ., ฉายารูป., ปฏิรูป., รูปก., สหสาคหิตฉายารูป.,
ภาพทิวทัศน์ น. ทูรทสฺสกจิตฺตกมฺม.,
ภาพที่เห็น (ทิวทัศน์) น. อาโลก. ทสฺสนปถ.
ภาพที่เห็นทางด้านข้าง น. เอกปสฺสิกทสฺสน.,
ภาพปก น. โปตฺถกจฺฉทรูปก.,
ภาพประกอบ น. อุทาหรณรูปก., นิทสฺสนรูปก.,
ภาพร่าง น. สงฺขิตฺตนิรูปน.,
ภาพลายเส้น น. เอกวณฺณิกจิตฺต.,
ภาพเล็กๆ น. ขุทฺทกจิตฺตกมฺม.,
ภาพวาด น.. จิตฺตกมฺมวตฺถุ.,
ภาพสีนำ้ มัน น. เตลจิตฺตกมฺม.,
ภาพหน้าปก ดู ภาพปก
ภาพพจน์ น. วากฺยาลงฺการ. อาการ. อุปฏฺฐิติ,
ภาพ ๒ ภาพยนตร์ น. นจฺจฉายารูป., จลจิตฺตยนฺต., เครื่องฉายภาพยนตร์ น. จลจิตฺตขีปนก., จลจิตฺตยนฺต., ฉายภาพยนตร์ น. จลจิตฺตทสฺสน., โรงภาพยนตร์ น. นจฺจฉายารูปสาลา, จลจิตฺตาคาร., วิชาภาพยนตร์ น. จลจิตฺตวิชฺชา,
ภาพลวงตา น. มรีจิ, มิคตณฺหิกา,
ภาพล้อ น. วิกตจิตฺตกมฺม., เขียนภาพล้อ ก. วิกตจิตฺตํ อาลิขติ นักเขียนภาพาล้อ น. วิกตจิตฺตสิปฺปี.
ภาพลักษณ์ น. มโนกปฺปิต., มโนกปฺปิตพิมฺพ.,
ภาพหลอน น. มโนนิมฺมาน., มโนมยรูป., จลรูปทสฺสน., มายา,
ภายใต้ นิ. เหฏฺฐา โอรํ
ภายนอก ค. พาหิร ปริพาหิร พาหิรก นิ. ติโร พาหิรํ พหิ พหิทฺธา
ภายนอกกำแพง น. ติโรปาการ.,
ภายนอกฝา น. ติโรกุฑฺฑ.,
ภายนอกภูเขา น. ติโรปพฺพต.,
ภายใน น. อนฺตร., อพฺภนฺตร., อชฺฌตฺต., ค. อนฺตริก อพฺภนฺตริก อชฺฌตฺติก อนฺโตวตฺตี กวิ. อนฺโต อชฺฌตฺตํ สนฺตรํ
ภายในบ้าน ค. เคหพฺภนฺตริก วิ. อนฺโตเคเห
ภายในประเทศ น. เทสพฺภนฺตร., ค. เทสพฺภนฺตริก สเทสายตฺต
ภายในพรรษา น. อนฺโตวสฺส.,
ภายในเรือน น. โกฏฺฐ. อนฺโตเคห.,
ภายหน้า นิ. ปุเร สมฺปรายํ
ภายหลัง น. ปจฺฉาภาค. อปรภาค. ค. ปจฺฉิม ปจฺฉิมก นิ. ปจฺฉา เหฏฺฐา
ภายหลังความตาย น. ปุราเภท., วิ. ปรมฺมรณา
ภายหลังจากนั้น กวิ. ตโต ปรํ, ตทนนฺตรํ
ภายหลังวันหนึ่ง นิ. อเถกทิวสํ
ภารกิจ น. ภาร. กิจฺจ., อธิการ.
ภาสรตะ น. ภารตเทส. ภารติย.
ภารธุระ น. ภาร. ธุร.
ภารโรง น. ทฺวารปาล. อคารรกฺขก.
ภาระ น. ภาร. ธุร. กิจฺจ., แบกภาระ น. ภารวาห. ค. ภารวาห ภารวาหี ก. ภารํ อาโรเปติ ปลงภาระ น. ภาโรโรปน.,
ภาระหนัก น. ครุภาร. ค. ภาริย ทุกฺขม ปีฬากร รับภาระ น. ภาราทาน., ภารคาห. ค. ภารธร ภารคาหี วางภาระ น. ภารนิกฺเขปน.,
ภาวนา (เจริญ) น. ภาวนา, (อ้อนวอน) น. อายาจนา. อภิปตฺถนา,
ภาวะ น. ภาว.
ภาวะคับขัน น. อจฺจายิกกรณีย., อจฺจายิกภาว. อจฺจาวสฺสก., ภาริยภาว.
ภาวะเงินเฟ้อ น. อติสมฺพหุลธนภาว. ธนวิตฺถมฺภน.,
ภาวะฉุกเฉิน (emergency) น. อจฺฉายิก. อาปทา, อจฺจายิกภาว. อจฺจายิกกรณีย.,
ภาวะตกต่ำ น. อโธปตน., วิสาท. เขท.
ภาวะที่เหนือกว่า น. อุปริภาว.
ภาวะผู้นำ น. นายกตฺต., ปมุขภาว.
ภาวะผู้เยาว์ น. พาลฺย., โยพฺพน. อปฺปโหณกวย. อปฺปตฺตวยตา,
ภาวะเร่งด่วน น. อจฺจายิก., อาปทา,
ภาวะวิกฤต น. ภาริยภาว. ครุกภาว. อนฺติมวตฺถา,
ภาวะสมดุล น. สมภารตา, อนฺนทฺวยสมตา,
ภาวะเส้นเลือดอุดตัน น. รุธิรรุนฺธน.,
ภาษา น. ภาสา, นิรุตฺต., นิรุตฺติ, พาณี, ภารตี, วาณี,
ภาษากลาง น. มิสฺสิตภาสา, สาธารณภาสา,
ภาษาชาวบ้าน น. คมฺมกถา,
ภาษาเฉพาะกลุ่ม น. ปรภาสา,
ภาษาตลาด น. คมฺมภาสา,
ภาษาตะวันออก น. ปาจีนภาสา,
ภาษาตาย น. โวหาราปคตภาสา,
ภาษาท้องถิ่น น. ปเทสิยภาสา, ปเทสภาสา, นิชภาสา, ปเทสโวหาร.
ภาษาที่พูดแต่เด็ก น. สเทสภาสา,
ภาษาใบ้ น. หตฺถสํวาจิกา, หตฺถมุทฺทา,
ภาษาผสม น. มิสฺสิตภาสา,
ภาษาพื้นเมือง ดู ภาษาถิ่น
ภาษาพูด น. มุขสํวาจิกา, กถิตภาสา,
ภาษามือ น. หตฺถสํวาจิกา,
ภาษาแม่ น. นิชภาสา,
ภาษาสแลง (slang) น. วิปฺปลาป. กุจฺฉิตาลาป. อสพฺภ., อสิฏฺฐวาจา, อวฺยตฺตกถา,
ภาษาสากล น. นานาเทสิยภาสา,
ภาษาต่างประเทศ น. วิเทสิกภาสา,
ภาษาเขมร น. กุมฺพุชวากฺย., กมฺพุชภาสา,
ภาษาฝรั่ง น. วิเทสิกภาสา,
ภาษามคธ น. มาคธี, มาคธีภาสา,
ภาษาสันสกฤต น. สกฺกฏภาสา, สกฺกตภาสา,
ภาษาสิงหล น. สีหฬภาสา,
ภาษาอังกฤษ น. อางฺคลภาสา,
ภาษาศาสตร์ น. นิรุตฺติสตฺถ., ภาสาสตฺถ., ภาสาวิชฺชา, นักภาษาศาสตร์ น. ภาสาตตฺตญฺญู. ภาสาโกวิท. นานาภาสญฺญู.
ภาษิต น. อุปเทสวากฺย., อาทิสิยปาฐ.
ภาษี ๑ น. กร. พลิ. ภาคเธยฺย., สุงฺก. ปาภต., อาย. ราสิก., จ่ายภาษี น. สุงฺกทาน., ที่ต้องเสียภาษี ค. กรคฺคาหารห กรทานารห ผู้เก็บภาษี น. อายกมฺมิก. พลิสาธก. กรคฺคาหี. ผู้เสียภาษี น. สุงฺกทายี. ไม่ต้องเสียภาษี (duty free) ค. สุงฺกมุตฺต เรียกเก็บภาษี ก. กรํ นิรูเปติ เสีย
ภาษี น. สุงฺกทาน.,
ภาษี ๒ ภาษีการค้า น. วณิชฺชพลิ.
ภาษีเงินได้ น. อายพลิ.
ภาษีเงินเพิ่ม น. อติเรกกร.
ภาษีที่ดิน น. วตฺถุพลิ.
ภาษีที่หักหนึ่งในสิบ น. ทสมภาคิกพลิ. ก. ทสภาคิกพลึ คณฺหาติ
ภาษีบุคคล น. ปุคฺคลิกกร.
ภาษีมรดก น. ทายชฺชพลิ.
ภาษีรายหัว น. ปุคฺคลพลิ.
ภาษีศุลกากร น. ราชพลิ.
ภิกขาจาร น. ภิกฺขาจาร. อุญฺฉา,
ภิกษุ น. ภิกฺขุ. ยติ. วสี. สมณ. ตปสฺสี. ตโปธน. ปพฺพชิต.
ภิกษุหนุ่ม น. ทหร. ทหรภิกฺขุ.
ภิกษุใหม่ น. นวก. นวกภิกฺขุ.
ภิกษุณี น. ภิกฺขุนี, สามินี, สำนักภิกษุณี น. ภิกฺขุนูปสฺสย.
ภิญโญภาพ น. ภิยฺโยภาว. นิ. ภิยฺโย
ภิยโยภาพ ดู ภิญโญภาพ
ภุชงค์ ดู งู, นาค
ภุมเทวดา น. ภุมฺมเทวตา, ภุมฺมเทว.
ภุมรา น. ภมร. (ดู ผึ้ง)
ภุมริน น. ภมร. (ดู ผึ้ง)
ภุมวาร (วันอังคาร) น. ภุมฺมวาร.
ภู ดู เนินเขา, ภูเขา
ภูเขา น. ปพฺพต. คิริ. เสล. อทฺทิ. อค. อคม. นค. อจล. อจฺจล. สิลุจฺจย. สิขรี. ภูธร. อหาริย. มรุ. มลย. อจฺจุต. อุพฺพีธร. ภู. มหิยงฺคณ., โคตฺต. ภูตธร.
ภูเขาน้ำแข็ง น. ปฺลวมานหิมปพฺพต.
ภูเขาบริวาร น. อุปนฺตเสล.
ภูเขาพระสุเมรุ น. เมรุ. สุเมรุ. ติทิวาธาร. เนรุ. สิเนรุ.
ภูเขาพื้นราบ น. ปตฺถ. สานุ.
ภูเขาไฟ น. อุจฺจล. อคฺคิภูธร. อคฺคิมุขปพฺพต.
ภูเขาสัตตบริภัณฑ์ น. ยุคนฺธร. อิสิธร. การวีก. สุทสฺสน. เนมินฺธร. วินตก. อสฺสกณฺณ.
ภูเขาหิน น. เสล. สิลุจฺจย.
ภูเขาหิมาลัย น. หิมาลย. หิมวนฺต. หิมวนฺตุ. (หิมวา.) หิมาจล.
ภูต น. ภูต. อมนุสฺส. ปิสาจ.
ภูตคาม น. ภูตคาม. พีชคาม.
ภูตบดี (พระอิศวร) น. ภูตปติ. สิว. อิสฺสร.
ภูตรูป น. ภูตรูป.,
ภูธร ดู กษัตริย์, ภูเขา
ภูผา (เขาหิน) น. เสล. สิลุจฺจย.
ภูมิ (แผ่นดิน) น. ภูมิ, (ชั้น) น. ปฏล., คุณ. ตล.,
ภูมิ, (พื้นเพ) น. ปุพฺพจริต., ปจฺฉิมภูมิ, โคตฺต., กุลวํส. องฺกุร.
ภูมิประเทศ น. ภูมิ, ภูมิปฺปเทส.
ภูมิประเทศที่ขรุขระ น. ชงฺคลภูมิ, ภูมิภาค น. ภูมิภาค.
ภูมิลำเนา น. นิเวสน., นิวาสฏฺฐาน.,
ภูมิอากาศ น. อากาสสภาว.
ภูมิคุ้มกัน น. พาธนสตฺติ, นิวารณสตฺติ,
ภูมิใจ ก. ปิเหติ โรเจติ อาราเธติ ตุสฺสติ
ภูมิชั้น น. ปภาว. ปตาป. มเหสกฺขตา,
ภูมิฐาน (สถานที่) ค. มหนฺต วิสาล ตมูล อุฬาร โอฬาริก มหิม (บุคคล) ค. อุฬาร มหาเตช มหาานุภาว อุตฺตุงฺค สิริมนฺตุ มเหสกฺข
ภูมิต้านทาน ดู ภูมิคุ้มกัน
ภูมิธรรม น. ธมฺมจริยา, อาจิณฺณธมฺม.
ภูมิปัญญา น. ปญฺญา, วิชฺชา, พุทฺธิ, ญาณ., สามตฺถิย., วิชฺชฏฺฐานวิสย. ญาณสตฺติ,
ภูมิแพ้ ดู โรคภูมิแพ้
ภูมิรู้ ดู ภูมิปัญญา
ภูมิศาสตร์ (geography) น. ภูมิสตฺถ., ภูโลกสตฺถ., ภูโคฬสตฺถ.,
ภูมิศาสตร์กายภาพ (physiography) น. มหาภูตวณฺณนา,
ภูมิหลัง น. ปุพฺพจริต., ปจฺฉิมภูมิ, ปจฺฉาภูมิ,
ภูวไนย ดู พระเจ้าแผ่นดิน
ภูษา ดู เครื่องประดับ ภูษ โยง น. ปํสุกูลทีฆภูสา,
เภตรา ดู เรือ, เรือสำาเภา
เภทภัย น. นานาภย.,
เภทุบาย น. เภท. อุปชาป.
เภรี ดู กลอง
เภสัช น. เภสชฺช., (ดู ยา)
เภสัชกร น. เภสชฺชกร. ติกิจฺฉก. เภสชฺชสมฺปาทก.
เภสัชกรรม (pharmacy) น. เภสชฺชกมฺม., โอสธสมฺปาทน.,
เภสัชตำรับ น. โอสธนิคณฺฑุ.
เภสัชเพลา น. ปูคตมฺพูลาทิเภสชฺช.,
เภสัชวิทยา (pharmacography) น. โอสธวณฺณนา,
เภสัชศาสตร์ (pharmacology) น. โอสถสมฺปาทนวิชฺชา,
โภคะ น. โภค.
โภคทรัพย์ น. โภค. โภคสมฺปตฺติ, โภคกฺขนฺธ.
โภคภัณฑ์ น. โภคูปกรณ.,
โภคสมบัติ ดู โภคทรัพย์
โภไคศวรรย์ น. โภเคยฺย.,
โภชนาการ น. โภชนายตฺตวิชฺชา,
โภชนาหาร น. โภชน.,
ไภรี ดู กลอง
---------------///-------------
[full-post]
แสดงความคิดเห็น
ข้อมูลความคิดเห็นของท่าน จะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้ง ฯ