ศัพท์ไทย - บาลี หมวด พ (พุ-, พู-)   

. ปุงลิงค์ , อิตถีลิงค์ ., นปุงสกลิงค์ / น. นาม / ก.กิริยา / กกิ. กิริยากิตก์ / คุ. คุณนาม / สำ. สำนวน / นิ. นิบาต /กวิ. กิริยาวิเสส

---------------

พุ น. อุพฺภิท. ก. อุพฺภิชฺชติ 

     พุพอง น. ปิฬก. ปิฬกา, ททฺทุ., โผฏ. โผฏก. 

     พุพองขึ้น ค. อุปฺปกฺกุปฺปกฺก

พุก น. ขีลก.

พุง น. กุจฺฉิ,. อุทร., คพฺภ. 

     พุงปลา น. ชฐร., 

     พุงพลุ้ย ค. ถูโลทร ลมฺโพทร

พุ่ง (ของ) น. ขิปน., เขป. ก. ตุริตํ ขิปติ วิสฺสชฺเชติ กกิ. นุต นุตฺต นุนฺน ขิปิต ขิตฺต อีริต อาวิทฺธ อุกฺขิตฺต (ตัว) น. ธาวน ก. ธาวติ ปธาวติ ปกฺขนฺทติ, สหสา ปวิสติ

     พุ่งขึ้น (นํ้าพุ) ก. อุพฺภิชฺชติ 

     พุ่งเข้าใส่ น. สหสาภิตุทน., 

     พุ่งไป น. ปธาวน., ก. ปธาวติ 

     พุ่งออกปาก ก. มุขโต อุคฺคจฺฉติ 

     พุ่งออกมา น. สหสา นิจฺฉรณ., ก. สหสา นิจฺฉรติ

พุทธ น. พุทฺธ. 

     พุทธจักร น. พุทฺธจกฺก., พุทฺธอาณา, 

     พุทธฎีกา น. พุทฺธวจน., 

     พุทธศักราช น. พุทฺธสก., 

     พุทธศาสตร์ น. พุทฺธสตฺถ., พุทฺธวิชฺชา,

     พุทธศาสนา น. พุทฺธสาสน., พุทฺธสมย.

     พุทธศาสนิก น. พุทฺธสาสนิก. 

     พุทธองค์ ดู พระพุทธเจ้า 

     พุทธันดร น. พุทฺธนฺตร.,

พุทโธ่เอ๋ย นิ. อโห, วต, เร, อโห ทุกฺขํ

พุ่ม น. คุมฺพ. คจฺฉ. 

     พุ่มดอกไม้ น. มาลาคจฺฉ. 

     พุ่มไม้ น. คุมฺพ. ปคุมฺพ. คจฺฉ. คุมฺพนฺตร., คุมฺพคหน., 

     พุ่มหนาม น. กณฺฏกคุมฺพ. กณฺฏกคหน.,

พู น. สกฺขลิกา,

พู่ น. สุตฺตโคจฺฉก. พู่กัน น. วาลทณฺฑ. ตูลิกา, อาเลขนี, พู่ห้อย น. มาลาคุณ.

พูด น. ภณน., ลปน., ภาสน., ปภาส. ค. กถิก กเถตุ ภาสก วตฺตุ ก. กเถติ ภณติ ภาสติ วทติ ลปติ สลฺลปติ วาเจติ กกิ. ภาสิต ลปิต วุตฺต อภิหิต อาขฺยาต ชปฺปิต อุทีรต กถิต คทิต ภณิต อุทิต

     พูดกระทบ ก. อาสชฺช วาเจติ

     พูดกลบเกลื่อน น. อญฺเญนญฺญํ ปฏิจรติ

     พูดกะทัดรัด น. มิตภาณิตา, ค. มิตภาณี

     พูดกันได้ ค. กถนีย กถนกฺขม 

     พูดกันไม่รู้เรื่อง ค. ทุพฺพจ อนสฺสว

     พูดกับตัวเอง น. เอกากีภาสน., ก. เอกากี ภาสติ, อตฺตนา ว อตฺตานํ กเถติ 

     พูดเก่ง ค. จตุรกถิก

     พูดเกินจริง น. อติวิเวจน., อติสยุตฺติ, ค. อติวิเวจก อติสยุตฺติปุพฺพก ก. อธิกํ วณฺเณติ

     พูดโกหก ดู พูดเท็จ

     พูดเขื่อง ดู คุยโต

     พูดคล่อง น. จิตฺตกถิกตฺต., ค. วาคีส กถาปฏุ อกฺขลิตวจน จตุรกถี มุขร วาจาล

     พูดคลาดเคลื่อนความจริง ค. วิสํวาทก

     พูดคำสองคำ สํา. เอกำ วา เทฺว วา วทติ

     พูดคุยกัน ดู สนทนา

     พูดโง่ๆ ก. สมฺผํ ปลปติ, ชปฺปติ

     พูดจริง ค. สจฺจวาที สจฺจสนฺธ 

     พูดจริงทำจริง ค. ยถาวาที ตถาการี

     พูดจากัน ดู สนทนากัน

     พูดจาล่อหลอก ค. วิตณฺฑวาที

     พูดชัดเจน น. วฺยตฺตุจฺจารณ., ก. อุทีเรติ อุจฺจาเรติ

     พูดซ้ำ น. ปุนวจน., ก. ปุน วทติ, อนุภาสติ

     พูดซ้ำโดยไม่จำเป็น น. ปริยาเยน ปุนรุตฺติ, 

     พูดซ่ำๆ ก. อนุภาสติ

     พูดด้วยความไม่พอใจ ก. อุชฺฌายติ ขิยฺยติ

     พูดดัง สํา. อุจฺจสทฺเทน กเถติ 

     พูดดังๆ ก. ปาวทติ

     พูดได้ ค. กถนกฺขม 

     พูดได้สองภาษา ค. ทฺวิภาสิก 

     พูดได้หลายภาษา ค. นานาภาสิก

     พูดตรงกัน ก. ปจฺจนุภาสติ

     พูดตลก ก. สญฺชคฺฆติ

     พูดตะกุกตะกัก น. คคฺคทวาจา, มมฺมนตฺต., ค. อสมฺพทฺธ วิปฺปยุตฺต ขลิตภาณ ก. วิสีทติ, ขลนฺโต ภณติ, มมฺมนายติ

     พูดติดตลก น. นมฺมาลาป. ค. นมฺมาลาปี

     พูดติดอ่าง น. มมฺมนตฺต., ค. มมฺมน ปกฺขลิตวาจ ก. มมฺมนายติ, ปกฺขลนฺโต ภาสติ, ขลิตํ ภณติ

     พูดถากถาง น. อุกฺขิปน.,

     พูดถึง ก. อารพฺภ กเถติ

     พูดทอดเสียง ก. สมฺมิสฺเสตฺวา กเถติ

     พูดทิ่มแทง น. วาจาสนฺนิตุทน.,

     พูดเท็จ น. มุสาวาท. ก. มุสา วทติ, มุสาวาทํ กโรติ

     พูดนอกเรื่อง น. พาหิรกถา, ก. พหิทฺธากถํ อปนาเมติ, อธิเปตตฺถา พหิ กเถติ, อุปฺปถํ ยาติ 

     พูดนอกลู่นอกทาง ดู พูดนอกเรื่อง

     พูดน้อย ค. อปฺปภสฺส มิตภาณี

     พูดน้ำท่วมทุ่ง ค. วิกิณฺณวาจ อสญฺญตวาจ ปตฺถฏวจน

     พูดน้ำลายเป็นฟอง สํา. เผณำ วมติ

     พูดเนิบๆ ก. อายตสฺสเรน วทติ

     พูดบานปลาย ก. กถํ วฑฺเฒติ

     พูดปด ดู พูดเท็จ

     พูดเป็นเชิง น. ปริยายกถา, ก. ปริยาเยน กเถติ

     พูดเป็นต่อยหอย ก. อนนฺตริกํ กเถติ

     พูดเป็นนัย น. เลสมตฺตทสฺสน., ก. เลสมตฺตํ ทสฺเสติ, อนิยเมน วทติ, สนฺธาย ภาสติ, อุปาทาย ภาสติ, ปริยาเยน กเถติ

     พูดเป็นสองนัย น. ปริยายกถน., ค. ทฺวนฺทตฺถ ก. ปริยาเยน กเถติ

     พูดเปิดเผย ค. อุตฺตานวจน ตถาวาที ถิรวจน

     พูดไปทำไมมี นิ. ปเคว, กิมงฺคํ ปน

     พูดโผงผาง น. เวคยุตฺตกถา, ก. อุจฺจาสทฺเทน วทติ 

     พูดพร่ำ น. ชปฺปนา, ปลปนา, ก. ชปฺปติ ปลปติ 

     พูดพร่ำเพรื่อ ดู พูดเพ้อเจ้อ

     พูดพล่อย ก. อลิกํ วทติ

     พูดพล่าม ดู พล่าม

     พูดพึมพำ น. ลปน., ลปนา, ชปฺปน., ค. ลป ลปก ก. ลปติ ปลปติ ชปฺปติ

     พูดเพ้อเจ้อ น. ปลาป. สมฺผปฺปลาป. ปชปฺปน., ค. ลป ลปก วาจาล นิปฺผลวาจ ปชปฺปี ปลาปี ก. ปลปติ, สมฺผํ ปลปติ, สมฺผํ กเถติ, ปชปฺปติ ลาลปฺปติ

     พูดโพล่ง ก. กกฺกสวาจํ ภาสติ, สหสา วทติ, อนนุวิจฺจ วทติ

     พูดไพเราะ ค. ปิยงฺวท ปิยวาจี

     พูดมาก น. กถาพาหุลฺล., พหุภาณิตา, ค. ภสฺสร ภาสุร วาจาล พหุภาณี มุขร วาจาพหุล วิกตฺถี สุกรูป 

     พูดมากเกินจำเป็น ค. อติมตฺตภาณี

     พูดไม่จริงใจ ก. อยถา วทติ

     พูดไม่ชัด น. อวฺยตฺตวจน., ก. อวฺยตฺตํ วทติ, อพฺภุตํ วทติ

     พูดไม่เป็นภาษา ก. อนวคมนียากาเรน กเถติ

     พูดไม่หยุด ก. อนนฺตริกํ กเถติ

     พูดไม่ออก ค. นิพฺพจน อวฺยตฺต

     พูดยาก ค. ทุพฺพจ ทุวจ ทุวิญฺญาปย ทุพฺพินีต

     พูดยานคาง ก. อายตสฺสเรน วทติ

     พูดย้ำ น. ปุนรุตฺติ, ก. ปุนปฺปุนํ วทติ

     พูดยืนยัน ก. ปวทติ

     พูดแย้ง น. ปฏิโจทนา, 

     พูดแย้งกัน น. วิโรโธตฺติ,

     พูดรุนแรง ก. กณฺณกฏุกํ วทติ

     พูดเรื่องทะเล น. สมุทฺทกฺขายิกา, 

     พูดเรื่องไร้สาระ น. สมฺผปฺปลาป. วิปฺปลาป. 

     พูดเรื่องโลกๆ น. โลกกฺขายิกา, โลกกถา,

     พูดเรื่อยเปื่อย น. สมฺผปฺปลาป. นิรตฺถกกถา, ก. สมฺผํ ปลปติ

     พูดล้อเล่น ก. ปริหสนฺโต กเถติ

     พูดเล่นๆ น. สมฺปภาส. สมฺผปฺปลาป. ก. อยถา วทติ

     พูดเลยเถิด น. ปริกถา,

     พูดเลอะเทอะ น. สมฺผปฺปลาป. นิรตฺถกกถา,

     พูดเลี่ยง ดู พูดอ้อมค้อม

     พูดเลียบเคียง น. สามนฺตชปฺปน., ปริกถา,

     พูดและเล็ม น. ปริกถา,

     พูดไว้ก่อน ก. ปเคว วทติ

     พูดสอด ก. อนฺตเร ปกฺขิปติ, มชฺเฌ ขิปติ

     พูดส่อเสียด น. ปิสุณวาจา,

     พูดสั้นได้ใจความ ค. มิตภาณี

     พูดเสริม น. อนุวาท. ก. อนุวทติ

     พูดเสียงขรม ก. สสทฺทํ ภาสติ 

     พูดเสียงแข็ง ก. ขรสทฺทํ ปวตฺเตติ 

     พูดเสียงดัง ก. มหาสทฺเทน กเถติ 

     พูดเสียงดังชัดเจน ก. อุทีเรติ อุจฺจาเรติ

     พูดหนวกหู น. สํวิลาป.

     พูดหยาบคาย น. ทุฏฺฐุลฺล., ผรุสวาจา, ก. ผรุสํ วาเจติ

     พูดหรือเขียนผิดหลัก น. อสุทฺธปฺปโยค.

     พูดหลบเลี่ยง ก. ปริยาเยน วทติ, ... ภาสติ

     พูดห้วน ค. มิตภาณี

     พูดเหลวไหล น. สมฺผปฺปลาป. ก. สมฺผํ ปลปติ, สมฺผํ กเถติ

     พูดให้คลาดเคลื่อน น. วิสํวาท, วิสํวาทน. ก. วิสํวาเทติ

     พูดให้ร้าย น. เปสุญฺญกถา, ก. นิกิตฺเตติ

     พูดให้เสียหาย น. นิปจฺจวาท.

     พูดอย่างไรทำอย่างนั้น ค. ยถาวาที ตถาการี

     พูดอ้อมค้อม น. วงฺกุตฺติ, ปริยายกถน., วาจาพาหุลฺล., ก. วงฺกุตฺตึ กเถติ, ปริยาเยน กเถติ

     พูดอ้อแอ้ ก. วิปฺปลปติ ชปฺปติ

     พูดอึกอัก น. คคฺคทวาจา, ก. ขลนฺโต ภณติ

     พูดอุบอิบ น. อนุทฺธุนน., ปลปน., ก. อนุทฺธุนาติ, มนฺทํ สทฺทายติ ปลปติ

     พูดอู้อี้ ก. อพฺภุตํ วทติ, ชปฺปติ

พูน ก. วฑฺเฒติ ปริปูเรติ พฺรูเหติ พูนดิน ก. ปํสุํ อุสฺสาเปติ 

     พูนทราย ก. วาลุกํ อุสฺสาเปติ 

     พูนเพิ่ม ดู เพิ่มพูน 

     พูนให้เป็นจอม ค. ถูปีกต

------------///------------


[full-post]

พจนานุกรม,ไทยบาลี,ศัพท์บาลี

แสดงความคิดเห็น

ข้อมูลความคิดเห็นของท่าน จะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้ง ฯ

ขับเคลื่อนโดย Blogger.