ศัพท์ไทย - บาลี หมวด พ (เพ-)   

. ปุงลิงค์ , อิตถีลิงค์ ., นปุงสกลิงค์ / น. นาม / ก.กิริยา / กกิ. กิริยากิตก์ / คุ. คุณนาม / สำ. สำนวน / นิ. นิบาต /กวิ. กิริยาวิเสส

---------------

เพ่ง (จ้องมอง) น. เปกฺข., เปกฺขา, สเมกฺขน., ค. เปกฺขก สเมกฺขก ก. เปกฺขติ สเมกฺขติ (อารมณ์) น. ฌาน., ฌายน., ค. ฌายี  ก. ฌายติ 

     เพ่งกสิณ ก. กสิณํ โอโลเกติ 

     เพ่งดู ก. เปกฺขติ สเมกฺขติ 

     เพ่งโทษ น. อุชฺฌาน., อุชฺฌาปน., ก. อุชฺฌายติ 

     เพ่งพิจารณา น. สมเปกฺขณ., อนุปสฺสนา, ก. สมเปกฺขติ 

     เพ่งพินิจ น. นิชฺฌาน., อุปนิชฺฌาน., ก. นิชฺฌายติ อุปนิชฺฌายติ 

     เพ่งภาวนา น. ฌาน., ก. ฌายติ 

     เพ่งเล็ง น. อเปกฺขา, อภิชฺฌา, ก. อเปกฺขติ

เพชฉลูกรรม ดู พระวิษณุกรรม

เพชฌฆาต น. วชฺฌฆาต. วชฺฌฆาตก. หึสาสีล. ฆาตก. อาฆาตุก. วธก. วธุทฺยต. วธุยฺยุตฺต. สีสจฺเฉทก.

เพชร น. วชิร., โค. มณิเวธ. นารายน.,

     เพชรตาแมว(ไพฑูรย์) น. วํสวณฺณ. เวฬุริย., กพรมณิ. มสารคลฺล., 

     เพชรพลอย น. มณิ. รตน.,

     เพชรหึง ดู ลมพายุ

เพ็ญ ค. ปุณฺณ (อุ. ปุณฺณจนฺโท)

เพดาน น. วิตาน., อุตฺตรจฺฉท. อุลฺโลจ.

     เพดานประดับดาว น. ตารามณิวิตาน., 

     เพดานปาก น. ตาลุ. 

     เพดานอาคาร น. วิตาน., อุลฺโลก., อุลฺโลจ.,

เพทาย น. อมล., อพฺภก.,

เพทุบาย น. วฺยาชวจน., กูโฏปาย. สาเถยฺย., เกตว.,

เพนียด น. สงฺกุวติ, ทารุวติ, หตฺถิโรธนฏฺฐาน., ปริวารกถมฺภปนฺติ,

เพรง ดู เก่า, ก่อน

เพรางาย น. ปจฺจูส. ปาตราส.

เพราเพริศ ดู งาม

เพราะ (เหตุผล) นิ. ยํ, ยโต, ยโต-ตโต, ยสฺมา-ตสฺมา, ยตฺร หิ นาม, วิ. อิมินา การเณน (เพราะ) ดู ไพเราะ

     เพราะฉะนั้น นิ. ตสฺมา 

     เพราะเช่นนั้น วิ. เตน การเณน 

     เพราะเช่นนี้ วิ. อิมินา การเณน 

     เพราะว่า นิ. หิ โต วิ. -ตตฺตา -ตาย -ภาเวน

     เพราะเหตุใด กวิ. ยํ เยน ยโต ยสฺมา ยตฺวาธิกรณํ ยโตนิทานํ 

     เพราะเหตุที่ นิ. ยสฺมา...ตสฺมา, ยโต...ตโต, เยน...เตน, 

     เพราะเหตุนั้น นิ. ตํ เตน ตโต ตสฺมา 

     เพราะเหตุไร วิ. กสฺมา, กึการณา, กิสฺส เหตุ, เกน 

     เพราะอะไร ดู เพราะเหตุไร

     เพราะพริ้ง ดู ไพเราะ

     เพราะเห็นแก่ชีวิต วิ. ชีวิตเหตุ

เพริศ ดู งาม, ดียิ่ง

     เพริศแพรว น. วิปฺผุลิงฺค., ผุลิงฺค., ค. วิปฺผุรนฺต วิสฺสฏฐผุลิงฺค

เพรียก ดู เสียงเซ็งแซ่

เพรียง น. กฏฺฐเวทีสมุทฺทปาณี.

เพรียว ค. ตนุ กีส

เพลง น. คนฺธพฺพา, คีต., คีติกา, สงฺคีติ, 

     เพลงกล่อมเด็ก น. ทารกลาลนคีต., 

     เพลงกล่อมลูก น. ปุตฺตลาลนคีต., 

     เพลงเก่าแก่ น. ชนตาคีต., ปุราตนคีต., 

     เพลงขับ น. คายน., คีต., คีติกา, 

     เพลงชาติ น. ปเทสตฺถุติคีต., 

     เพลงเต้นรำ น. นฏฺฏคีต., 

     เพลงโต้ น. ปฏิคีต., 

     เพลงที่เป็นจังหวะ น. มธุรคีต., 

     เพลงปรบไก่ น. ปาณิสฺสร. 

     เพลงประสานเสียง น. ขุทฺทกสิงฺคารคีต.,

     เพลงพื้นบ้าน (โฟล์ซอง) น. ชนตาคีต.,

     เพลงยอพระเกียรติ น. ถุติคีต., ชยคีต., 

     เพลงร้องกับพิณ น. วีณาคีต., 

     เพลงร้องงานแต่งงาน น. วิวาหคีต., 

     เพลงรัก น. สิงฺคารคีต., 

     เพลงลูกทุ่ง น. ชานปทิกคีต., คามิกคีต., 

     เพลงไว้อาลัย น. ปริเทวคีต., โสกคีต., 

     เพลงโศก น. ปริเทวคีต., โสกคีต., 

     เพลงสดุดี น. อานนฺทคีต., ภตฺติคีต., ถุติคีต., ชยคีต., 

     เพลงสนุก น. อานนฺทคีต., 

     เพลงสรรเสริญ น. ถุติคีต., ถุติปพนฺธ. 

     เพลงสวดงานศพ น. โสกคีต., 

     เพลงสากล น. อาธุนิกคีต.,

     เพลงสวด น. เทวตฺถุติคีต., ภตฺติคีต., ธมฺมคีต., หนังสือเพลงสวด น. ธมฺมคีตพนฺธก. ผู้ร้องเพลงสวด น. ธมฺมคีตคายก.

เพลา (ของรถ,เกวียน) น. อกฺข. อุปกฺขร., อกฺขเลขา, 

     เพลามือ น. สิถิลีกรณ., วิริโยสฺสชน., 

     เพลาหมุน น. กนฺตนสูจิ,

เพลาะ น. อริปฏิพาหกปริขา,

เพลิง ดู ไฟ เพลิงกัลป์ ดู ไฟบรรลัยกัลป์ 

     เพลิงรัก น. ราคคฺคิ.

เพลิดเพลิน น. อภิลาส. อานนฺท. อานนฺทน., นนฺท. นนฺทน., นนฺทนา, นนฺทิ, สายน., รติ, อภิรติ, อาโมทนา, หาส. ค. อภิรต อาโมทิต ปโมทิต ก. นนฺทติ อภินนฺทติ อภิรมติ

เพลิน น. อภิรุจิ, ปริหาส. อภินนฺท. ค. สานนฺท ปโมทิต หฏฺฐ

เพลีย ดู อ่อนเพลีย

เพลียใจ น. วิสาท. อุสฺสาหภงฺค. โอสีทน., ก. วิสาเทติ, อุสฺสาหํ หาเปติ

เพลี่ยงพล้ำ ก. ปราชยํ ปาปุณาติ, ปริปตติ วิปชฺชติ วิรชฺฌติ

เพศ น. เวส. ลิงฺค., ภาวรูป.,

     เพศชาย น. ปุม. ปุมภาว. ปุริส. ปุํลิงฺค., ปุลฺลิงฺค., ปุริสินฺทฺริย., 

     เพศหญิง น. อิตฺถีลิงฺค., 

     เพศกลับ น. เวสปริวตฺตน., 

     เพศวิทยา (sexology) น. กามสตฺถ.,

     เพศสัมพันธ์ น. สํวาส. 

     เพศสัมพันธ์ระหว่างพี่น้อง น. อธมฺมราค. วฺยาภิจาร. ค. ญาติเมถุนายตฺต

เพ้อ น. อุมฺมาท. วิพฺภม. ค. ภนฺตจิตฺต สติวิกล 

     เพ้อเจ้อ น. สมฺผปฺปลาป. ก. สมฺผํ ปลปติ, วิลปติ 

     เพ้อฝัน น. อตถปริกปฺปน., มโนกปฺปนา, มิจฺฉาภิมานิตา, ค. วิปลฺลตฺถมติก อพฺภุตกามี มิจฺฉาภิมานี อพฺภุตปฺปิย

เพาะ น. โรปน., วปน., ก. โรปติ วปติ 

     เพาะกาย น. สพฺภตา, 

     เพาะเชื้อ ก. พีชานิ วปติ 

     เพาะพันธุ์ ก. พีชานิ วปติ เพาะปลูก น. กสิ, กสิกมฺม., กสน., โรปน., วปน., ก. กสติ โรปติ วปติ

เพิก น. อุปฺปาฏน., ก. อุปฺปาเฏติ 

     เพิกเฉย ดู ไม่เอาใจใส่ 

     เพิกถอน น. สมูหนน., ก. สมูหนติ โลเปติ ปจฺจกฺขาติ กกิ. สมูหต 

     เพิกถอนสิทธิ ก. ปเคว ปิทหติ, ปเคว ปฏิพาหติ

เพิง น. อฑฺฒโยค. สุปณฺณวงฺกจฺฉท.

เพิ่งเกิด ค. ชาตมตฺต

เพิ่งเริ่ม น. ปฐมารมฺภ. ปฏิสนฺธิ, สมฺภเวสิตา, ค. สมฺภเวสี

เพิดเพ้ย ดู เย้ยหยัน

เพิ่ม น. พฺรูหน., วฑฺฒน., วทฺธิ, วุฑฺฒิ, สงฺกลน., ปิณฺฑน., สมาหาร.

     เพิ่มกำลัง น. พลปฺปทาน., พลานุปทาน., 

     เพิ่มกำลังทางทหาร น. เสนาวฑฺฒน., ก. เสนาพลํ วฑฺเฒติ

     เพิ่มขึ้น น. อุปจย. วฑฺฒน., วฑฺฒิ, ก. อุปจยติ พหติ วฑฺฒติ กกิ. อุปจิต วฑฺฒิต 

     เพิ่มขึ้นมาเอง ค. อสมฺภาวิตสมฺปตฺต

     เพิ่มเข้า ก. ปกฺขิปติ นิกฺขิปติ

     เพิ่มความเร็ว น. สีฆตฺตปาปน.,

     เพิ่มจำนวน ก. วฑฺเฒติ พหุลีกโรติ

     เพิ่มเติม น. สงฺกลน., อภิวฑฺฒน., อุปจย.  ก. อูนํ ปูเรติ, อติเรกํ โยเชติ, อภิวฑฺเฒติ, ภาเวติ 

     เพิ่มพูน น. วฑฺฒน., วฑฺฒิ, อภิวฑฺฒน., นิจย. ปริจย. ผาติ, สํวทฺธน., อนุพฺรูหน., ก. วฑฺฒติ วฑฺเฒติ อภิวฑฺฒติ อภิวฑฺเฒติ ปภาเวติ

     เพิ่มให้ น. ปทาน., อนุปทาน., ก. อนุปฺปเทติ กกิ. อนุปฺปทินฺน 

     เพิ่มอำานาจ สํา. พลำ เทติ, สกฺยำ กโรติ

เพิศพริ้ง ดู งาม

เพียง นิ. ยาว-ตาว, ยาวเทว 

     เพียงแค่นี้ ค. เอตฺตก 

     เพียงดัง นิ. อิว 

     เพียงใด นิ. ยาว 

     เพียงเท่านั้น ค. มตฺต 

     เพียงเท่านี้ ค. เอตฺตก นิ. เอตฺตาวตา 

     เพียงนั้น นิ. ตาว ตาวเทว 

     เพียงในนาม ค. นามมตฺตก นามสทิส 

     เพียงเพื่อ นิ. ยาวเทว 

     เพียงไร นิ. กีว กีวตกํ กีวรูป ยาวกีวํ 

     เพียงเล็กน้อย วิ. กิญฺจิ

     เพียงพอ น. ปโหนกตฺต., อลํภาว. ค. ปหุก ปหูต ปจุร ปโหนก อลํภูต ก. ปโหติ กวิ. อลํ 

     เพียงพอที่จะ นิ. อลํ

เพี้ยง ดู เหมือน

เพี้ยน น. สงฺโกจ. วิการ. วิปลฺลาส.

เพียบ ค. สมฺปุณฺณ ปริปุณฺณ ปริปูริต อฑฺฒ สมิทฺธ 

     เพียบพร้อม น. สมิทฺธตา, ค. อฑฺฒ สมิทฺธ สมนฺนาคต สมปฺปิต สมฺปุณฺณ

เพียร น. ดู ความเพียร ก. ดู พากเพียร

เพื่อว่า นิ. โน เจ

เพื่ออะไร ค. กิมตฺถิย กวิ. กมตฺถํ กิมตฺถํ ยทตฺถํ

เพื่อน (ชาย) น. มิตฺต. วยส. วยสฺส. สหาย. สฺหพฺย. สุหท. สุหชฺช. สข. สขา. ปกฺข. ทุติย. สมฺปวงฺก. สิเนหก. สมฺภตฺต. สหจร. (หญิง) น. สขี, สขิกา, อาลี, อาฬิ, วยสฺสา, สหายิกา,

     เพื่อนเกลอ น. ปิยมิตฺต. สมฺภตฺต. ทฬฺหมิตฺต. สหวาสี. ค. อพฺภนฺตริก อติวิสฺสาสิก

     เพื่อนคบ น. สมฺภตฺต. ทฬฺหมิตฺต.

     เพื่อนคู่ชีวิต น. สมานสุขทุกฺขสหาย.

     เพื่อนชักชวนในทางเสีย น. อปายสหาย.

     เพื่อนดี น. กลฺยาณมิตฺต. สุหท.

     เพื่อนตาย น.. สมานสุขทุกฺขสหาย.

     เพื่อนเทียม น. ปาปมิตฺต. มิตฺตปฏิรูปก.

     เพื่อนแท้ น. สมฺภตฺต. ทฬฺหมิตฺต. กลฺยาณมิตฺต.

     เพื่อนบ้าน น. ปฏิวิสฺสก. สมีปวาสี.

     เพื่อนพรหมจารี น. สพฺรหฺมจารี.

     เพื่อนร่วมงาน น. กมฺมนฺตสหาย. ค. สหกมฺมการี สมานธุรีน เอกกิจฺจนิยุตฺต

     เพื่อนร่วมชั้น น. สหสิกฺขก. สหชฺฌายก.

     เพื่อนร่วมชาติ น. สเทสิย. สกรฏฺฐิก.

     เพื่อนร่วมทาง น. สหจร.

     เพื่อนร่วมทานอาหาร น. สหโภชี.

     เพื่อนร่วมทีม น. สหกีฬก.

     เพื่อนร่วมโรงเรียน ดู เพื่อนร่วมชั้น

     เพื่อนร่วมห้อง ดู เพื่อนร่วมชั้น

     เพื่อนเล่นกันมา น. สหปํสุกีฬิตสหาย.

     เพื่อนเลว น. ปาปมิตฺต. ปาปสหาย.

     เพื่อนสนิท น. ปิยมิตฺต. สมฺภตฺต. ทฬฺหมิตฺต. สหวาสี.

     เพื่อนเห็น น. สนฺทิฏฺฐ. ทิฏฺฐมตฺตก.

     เพื่อนใหม่ น. สนฺทิฏฺฐ. ทิฏฺฐมตฺตก.

---------///-----------


[full-post]

พจนานุกรม,ไทยบาลี,ศัพท์บาลี

แสดงความคิดเห็น

ข้อมูลความคิดเห็นของท่าน จะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้ง ฯ

ขับเคลื่อนโดย Blogger.